Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  การคัดเลือก Ecorace ไหมอีรี่เพื่อการปรับปรุงพันธุ์
Screening of eri silkworm ecoraces towards variety improvement
Autores:  Duenpen Wongsorn
Siviali Sirimungkararat
Weerasak Saksirirat
Data:  2015-06-02
Ano:  2013
Palavras-chave:  Ecorace eri
Samiaricini
Silkworm
Variety improvement
Screening
Morphological
Growth
Yields
ไหมอีรี่
แมลง
การปรับปรุงพันธุ์
การคัดเลือก
ลักษณะทางสัณฐานวิทยา
การเจริญเติบโต
ความแข็งแรง
ผลผลิต
การอยู่รอด
Resumo:  The selection of eri silkworm ecorace with high yield and distinct in morphological character is necessary for variety improvement. Five eri silkworm ecoraces, SaKKU1, SaKKU2, SaKKU3, SaKKU4 and SaKKU5 were surveyed and derived in country or from academic cooperation in international level. All ecoraces were cultured using castor leaves of TCO101 variety as food plant at 25±2 °C, 80±5%R.H. Based on morphological characters, there were similar except body of the 5th instar larva of SaKKU1 was covered with white powder and ripe larva showing shiny dominant yellow color. Life cycles were also similar durations, 46-53 days (SaKKU1), 42-53 days (SaKKU2), 42-52 days (SaKKU3), 40-56 days (SaKKU4) and 41-52 days (SaKKU5). SaKKU1 had highest survival rate at larval stage (100%) and larva-adult (88.89%), which significantly different (P<0.05) to other ecoraces. Moreover, this ecorace gave the highest average yields: fresh cocoon weight (3.8016 g), pupa weight (3.2532 g), shell weight (0.5287 g), %shell (14.01%), fresh cocoon weight/ 10,000 larvae (38.01 kilograms), egg/moth (531.13 eggs), total eggs (6,375.27 eggs) and total hatching eggs( 6,006.13 eggs), which significantly different (P<0.05) than other ecoraces. Of those properties, especially survival and yields, this ecorace (SaKKU1) is prominent to be applied in further varietal improvement program.

การคัดเลือก ecorace ไหมอีรี่ที่มีผลผลิตสูง และมีลักษณะทางสัณฐานที่ชัดเจน เป็นสิ่งจำเป็นอย่างยิ่งสำหรับการปรับปรุงพันธุ์ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อคัดเลือก ecorace ไหมอีรี่สำหรับนำไปสู่การปรับปรุงพันธุ์ การสำรวจและรวบรวมไหมอีรี่ทั้งในประเทศและจากความร่วมมือทางวิชาการกับต่างประเทศ ได้ไหมอีรี่จำนวน 5 ecoraceได้แก่ SaKKU1, SaKKU2, SaKKU3, SaKKU4 และ SaKKU5 เมื่อนำมาเพาะเลี้ยงด้วยใบละหุ่งพันธุ์ TCO101 ที่สภาพอุณหภูมิ 25±2°ซ 80±5% R.H. พบว่าไหมป่าทั้ง 5 ecorace มีลักษณะทางสัณฐานวิทยาที่คล้ายคลึงกัน เฉพาะ SaKKU1 เท่านั้นที่ในระยะหนอนไหมวัย 5 มีแป้งสีขาวปกคลุมเมื่อเริ่มสุกลำตัวจะมีสีเหลืองใสเข้ม อีกทั้งวงจรชีวิตยังมีค่าใกล้เคียงกันเท่ากับ 46-53, 42-53, 42-52, 40-56 และ 41-52 วัน สำหรับ ecorace SaKKU1, SaKKU2, SaKKU3, SaKKU4 และ SaKKU5 ตามลำดับส่วนอัตราการอยู่รอดนั้น SaKKU1 มีค่าสูงที่สุด ทั้งในระยะหนอน (100%) และระยะหนอน-ตัวเต็มวัย (88.89%) ซึ่งแตกต่างทางสถิติ (P<0.05) กับ ecorace อื่นๆ นอกจากนั้นยังให้ผลผลิตเฉลี่ยต่างๆ สูงที่สุดอีกด้วย ซึ่งได้แก่ น้ำหนักรังสด (3.8016 กรัม) น้ำ หนักดักแด้ (3.2532 กรัม) น้ำหนักเปลือกรัง (0.5287 กรัม) เปอร์เซ็นต์เปลือกรัง (14.01%) น้ำหนักรังสด/หนอน 10,000 ตัว (38.01 กิโลกรัม) จำนวนไข่/แม่ (531.13 ฟอง) จำนวนไข่ทั้งหมด (6,375.27 ฟอง) และจำนวนไข่ฟักทั้งหมด (6,006.13 ฟอง) โดยแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับ ecorace อื่นๆ จากข้อมูลดังกล่าว โดยเฉพาะการอยู่รอดและผลผลิตดังกล่าว ไหมอีรี่ ecoraceSaKKU1 จึงมีความเหมาะสมอย่างยิ่งในการคัดเลือกไว้เพื่อนำไปใช้ในการปรับปรุงพันธุ์ต่อไป
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5771

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2013, V. 41, Suppl. 1, p. 192-198

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2556, ปีที่ 41, ฉบับพิเศษ 1, หน้า 192-198
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional